Log In
bg

โครงการพัฒนาบุคลากรด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพในชุมชน : ผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ (ปีที่ 1) Human Resources Development For Creative Industry: Jewlery Products

Target Indicator Result
การศึกษาที่เท่าเทียม
SDG 4 QUALITY EDUCATION
4.3 By 2030, ensure equal access for all women and men to affordable and quality technical, vocational and tertiary education, including university 4.3.1 Participation rate of youth and adults in formal and non-formal education and training in the previous 12 months, by sex
4.4 By 2030, substantially increase the number of youth and adults who have relevant skills, including technical and vocational skills, for employment, decent jobs and entrepreneurship 4.4.1 Proportion of youth and adults with information and communications technology (ICT) skills, by type of skill
Caveat

ผลผลิต
1. จำนวนคนในชุมชนมีทักษะการผลิตเครื่องประดับยาถมดำปราศจากตะกั่ว เพิ่มขึ้น 10 คน
2. จำนวนลวดลายที่เป็นอัตลักษณ์ของ จ.สระแก้ว 30 ลวดลาย
3. จำนวนนักเรียนที่มีทักษะทางด้านการเจียระไนอัญมณี 50 คน
4. จำนวนลวดลายของผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ จำนวน 10 ลวดลาย
ผลลัพธ์
1. จำนวนคนที่มีอาชีพเสริม 5 คน
2. จำนวนกลุ่มอาชีพเครื่องประดับยาถมปราศจากตะกั่ว จำนวน 1 กลุ่ม
3. จำนวนการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ จำนวน 2 รูปแบบ
4. เกิดรายได้จากอาชีพเสริมในชุมชน

Impact Level
Impact

ผลกระทุบ
1. ด้านเศรษฐกิจ
- เกิดการสร้างรายได้จากการผลิตผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ที่มีลวดลายอันเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน
- เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์
2. ด้านสังคม
- เกิดการสร้างเครือข่ายของชุมชน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของนักเรียน ชุมชน คณาจารย์ นิสิต เพื่อการพัฒนาตนเอง
- เกิดการประชาสัมพันธ์ที่บริหารจัดการโดยชุมชนและเยาวชนในท้องถิ่น
- เยาวชนเกิดความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและประชาสัมพันธ์ชุมชน
3. ด้านสิ่งแวดล้อม
- เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างรู้คุณค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด

College of Creative Industry