Target | Indicator | Result |
---|---|---|
SDG 3
GOOD HEALTH AND WELL-BEING
|
||
3.c Substantially increase health financing and the recruitment, development, training and retention of the health workforce in developing countries, especially in least developed countries and small island developing States | 3.c.1 Health worker density and distribution | 320 of participants, Parent and Teacher, are trained from our program for stimulated the children development with playing and learned how to evaluated the development their child. |
SDG 4
QUALITY EDUCATION
|
||
4.2 By 2030, ensure that all girls and boys have access to quality early childhood development, care and pre?primary education so that they are ready for primary education | 4.2.1 Proportion of children under 5 years of age who are developmentally on track in health, learning and psychosocial well-being, by sex | 945 early Childhood Participants are assessed and evaluated development, nutritio status and health. All this subject are played and learned from our program to stimulated the delay development problem as reading, using language problem, social and emotional problem. After program, subject have improve the development by play and learn with their family and teacher. |
Caveat
For implementation of the project to developed quality of the toddler children in health care by the family center concepts and mentors since 2013 – 2016 of Faculty of nursing, Srinakharinwirot university. We founded that the children (3-5 years) not only have problems of reading and using language problems but also physical development, which consist with the World Health Organization (WHO) reported that children in the last 3 years have delay development problem more that 30% and almost of them have a problem in language development at 20%, fine muscle tone and strength development, social development, and gross muscle tone and strength development as 9, 8, and 7 percent, respectively. In addition, the delay development of children, especially language is found that a relationship with the cognitive function delay and excusive function (EF)
The focus of this project is to develop and promote of the language, social and physical with the good health as nutrition and health concepts. Those are the important factor of quality of life of children. Therefore, the family is an important part to be aware and interest and has action with mentor or school teachers to provide advice and care the preschool in with equally of gender. The operation of the project work in the center of the Child Development Center of Ongkharak Subdistrict , Ban Na Kindergarten (Chang Temple) Child Development Center Ban Na Kindergarten (Wat Chang), Ban Na Subdistrict, Municipality Child Development Center, Wat Iam Prasit School, Muang District, Child Development Center, Na Hin Lat Subdistrict, Pak Phli District, Child Development Center, Ban Khok Sawang School, Pak Phli District, Child Development Center, Ban Tha Maprang District, Pak Phli District, Nakhon Nayok Province
การดำเนินโครงการบริการโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยงตั้งแต่ปีพ.ศ. 2556-2559 ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในเด็กเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) ซึ่งพบว่า มีเด้กที่ปัญาหาในเรื่องของพัฒนาการในทางด้านการอ่านและภาษา รวมถึงทางร่างกายซึ่งสอดคล้่องกับองค์การอนามัยโลก (WHO) ที่รายงานว่าเด็กช่วง 3 ปีหลัง มีพัฒนาการยิ่งล่าช้าถึงกว่า 30% โดยมีพัฒนาการล่าช้าสูงสุดด้านภาษา เกือบร้อยละ 20 รองลงมาเป็นด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กประมาณร้อยละ 9 ด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเองประมาณร้อยละ 8 และกล้ามเนื้อมัดใหญ่ประมาณ ร้อยละ 7 นอกจากนี้ การที่เด็กมีพัฒนาการล่าช้าโดยเฉพาะทางด้านภาษา พบว่ามีความสัมพันธ์กับพัฒนาการล่าช้าด้านสติปัญญา และ Effective function ในการจัดโครงการในครั้งนี้นั้นมุ่งเน้นที่จะพัฒนาและส่งเสริมในเรื่องของพัฒนาการการเรียนรู้ทั้งด้านภาษา สังคมและร่างกายที่รวมถึงการมีภาวะสุขภาพที่ดีในด้านโภชนาการและภาวะสุขภาพซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญในการพัฒนา่ศักยภาพและคุณภาพของเด็กปฐมวัย ซึ่งครอบครัวเป็นส่วนสำคัญที่จะต้องตระหนักและให้ความสนใจ โดยมีครูพี่เลี้ยงหรือครูประจำสถานศึกษาที่สามารถให้คำแนะนำและดูแลเด็กปฐมวัยได้อย่างต่อเนื่องอย่างเท่าเทียมกันในเพศ ซึ่งการดำเนินงานโครงการโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอบต.องครักษ์ โรงเรียนอนุบาลบ้านนา (วัดช้าง) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาลบ้านนา (วัดช้าง) เทศบาลตำบลบ้านนา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนวัดเอี่ยมประสิทธิ์ อำเภอเมือง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอบต.นาหินลาด อำเภอปากพลี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านโคกสว่าง อำเภอปากพลี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่ามะปราง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยงและบุคลากรสุขภาพได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
Impact
1. The proportion of young girls who receive care and promote health conditions Development and learning in terms of language and physical development are compared with boys as 4: 1.
2. Preschool children under 5 years of age receiving care and promoting health conditions to develop and learn in terms of language and physical development, including family,
3. Teachers, mentors and parents have been learned to promote health conditions. develop and learning in terms of language and physical development and learning in schools and at Ban Ki is 20% of the total number of schools or day care centers in Nakhon Nayok (37 schools).
4. Early Childhood Participants (945 people) have early childhood learning and language development, reading and telling numbers 17% and health problems and malnutrition 15%
1.สัดส่วนของเด็กปฐมวัยเพศหญิงที่ได้รับการดูแลส่งเสริมภาวะสุขภาพ พัฒนาการและการเรียนรู้ในเรื่องของภาษาและพัฒนาการด้านร่างกายเป็นเมื่อเทียบกับเพศชาย 4:1
2.เด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 5 ปีที่ได้รับการดูแลส่งเสริมภาวะสุขภาพ พัฒนาการและการเรียนรู้ในเรื่องของภาษาและพัฒนาการด้านร่างกายเโดยมีครอบครัวได้แก่ พ่อ หรือ แม่ หรือญาติมีส่วนร่วมคิดเป็นร้อยละ 20 จากจำนวนเด็กปฐมวัยอายุต่ำกว่า 5 ปีของจังหวัดนครนายก 4,500 คน (สถิติจังหวัดนครนายก 2560)
3. ครูพี่เลี้ยงและผู้ปกครองได้รับการเรียนรู้ในการส่งเสริมภาวะสุขภาพ พัฒนาการและการเรียนรู้ในเรื่องของภาษาและพัฒนาการด้านร่างกายและการเรียนรู้ในโรงเรียนและที่บ้านคิเป็นร้อยละ 20 ของจำนวนโรงเรียนหรือศูนย์ดูแลเด็กเล็กในจังหวัดนครนายก (37 โรงเรียน)
4. เด็กปฐมวัยที่เข้าโครงการ (945 คน) มีเด็กปฐมวัยมีการเรียนรู้และพัฒนาการทางภาษาการอ่านและการบอกตัวเลขร้อยละ 17 และพบปัญหาทางด้านสุขภาพและภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ15