Log In
bg

Practical Advice For Value-Added On Banana Products With Sustainable Community’s Live ( คําแนะนําเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในผลิตภัณฑ์กล้วยกับชีวิตชุมชนอย่างยั่งยืน)

Target Indicator Result
การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
SDG 8 DECENT WORK AND ECONOMIC GROWTH
แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
SDG 12 RESPONSIBLE CONSUMPTION & PRODUCTION
Caveat

It tells the story of what happened on the Noen-Mai community by Head of Village called Mrs. On-Sri. The community has participated in the joint action with the Faculty of Economics, Srinakharinwirot University almost 4 years. This community service is a part of sharing wisdom among 3 sectors which those are community, government organization and university. The Faculty of Economics has been sharing the knowledge of learning with the community throughout the project-based learning to modify the Noen-Mai community's "Banana Value-Added Path" project along with "Solar Energy” as an alternative approach to reduce the energy costs in Banana Processing. Bananas are an awesome fruit fully of vitamins with the magical valuable products created. From 2017 till now, the Faculty of Economics, Nurse, Science and Social Science have teamed up building an idea to be the base for learning center about banana plantations. The project has created by the Faculty of Economics and students together with the needs of the community agreed that bananas can benefit significantly according to nutrition principles. Starting by using 1 rai of land to gradually develops and cultivates bananas leading to an idea to construct a learning banana community center. "Banana" is a plant that has been commonly grown in the house together with the life of Thai people for a long time because it can be used as a compounded of local family food such as banana leaves. Moreover, the banana trunk is used as animal feed and makes innovative ropes as a friendly environment. Bananas can also be processed into a variety of products as the community learning – doing – developing together with us. The Faculty of Economics with the partners aim to see this academic service project as a tool to cultivate professional skills for the Noen-Mai community; to build good and strong leadership of its members. Besides, students can use economic knowledge supporting in banana project analysis particular in measuring on the Cost & Benefit. The Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives has joined us as an adviser and an operator in financial funding suggesting sine the 1st year of starting project.

การดำเนินโครงการเกิดขึ้นในชุมชนเนินใหม่โดยผู้นำชุมชนขื่อนางอ่อนศรี ภู่เจริญ ชุมชนได้เข้าร่วมมือกับคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเกือบ 4 ปี การบริการชุมชนนี้นับเป็นส่วนหนึ่งของการแบ่งปันภูมิปัญญาระหว่าง 3 ภาคส่วน คือ ชุมชน องค์กรภาครัฐ และมหาวิทยาลัย คณะเศรษฐศาสตร์ได้แบ่งปันความรู้ร่วมกับการเรียนรู้กับชุมชนตลอดโครงการเพื่อสร้างการปรับเปลี่ยนให้เห็นความชัดเจนกับโครงการที่เน้นเรื่อง "กล้วยกับการสร้างมูลค่าเพิ่ม" และ "การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในกระบวนการผลิตเพื่อสดค่าใช้จ่าย" เนื่องจากแง่มุมการมองนี้เป็นแนวทางทางเลือกเพื่อช่วยชุมชนในด้านของการลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้พลังงาน ร่วมกับกระบวนการผลิตกล้วย กล้วยเป็นผลไม้ที่มีวิตามินที่มีคุณประโยชน์อย่างสูง นับจากปี 2560 จนถึงปัจจุบัน ความร่วมมือระหว่างคณะเศรษฐศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ได้ร่วมกันสร้างความคิดร่วมกับชุมชนในการพัฒนาพื้นที่ภายในชุมชนนำไปสู่การสร้างศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับสวนกล้วย โครงการนี้เริ่มดำเนินการโดยคณะเศรษฐศาสตร์และนิสิตของคณะฯร่วมกับความต้องการของชุมชนประชุมตกลงกันว่ากล้วยเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นทรัพยากรที่ชุมชนนำมาใช้ประโยชน์อย่างมีนัยสําคัญ ชุมชนเสนอการใช้ที่ดิน 1 ไร่เพื่อการพัฒนาและดำเนินกระบวนการในการปลูกกล้วยและนําไปสู่ความคิดในการสร้างศูนย์การเรียนรู้กล้วยในชุมชน เพราะสมาชิกของชุมชนเชื่อว่า "กล้วย" เป็นพืชที่ปลูกกันได้โดยทั่วไปในบ้านร่วมกับชีวิตของคนไทยมาเป็นเวลานาน เพราะสามารถใช้เป็นอาหารภายในท้องถิ่นเช่น ใบกล้วยใช้ในการห่อของ นอกจากนี้ ลําต้นของกล้วยชุมชนสามารถนำมาใช้เป็นอาหารเพื่อสัตว์เลี้ยงและใช้ทําเชือกที่เป็นนวัตกรรมใหม่แทนหนังยางและยังเป็นมิตรกับสภาพแวดล้อม ขณะเดียวกันกล้วยยังสามารถนำมาต่อยอดสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลาย ชุมชนได้ทำการพัฒนาร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์โดยมีความมุ่งหวังที่จะเห็นโครงการบริการวิชาการนี้เป็นเครื่องมือและแนวทางในการปลูกฝังทักษะวิชาชีพและผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชมให้กับชุมชนเนินใหม่ และนำไปสู่การสร้างความเป็นผู้นําที่ดีและความเข้มแข็งของสมาชิกในชุมชน นอกจากนี้นิสิตของคณะฯ ยังสามารถใช้ความรู้ทางเศรษฐกิจในการสนับสนุนชุมชนด้านบริการวิชาการเพื่อการวิเคราะห์โครงการกล้วย โดยเฉพาะในการคำนวณและวัดค่าใช้จ่ายเปรียบเทียบกับผลประโยชน์ที่ชุมชนได้รับสำหรับโครงการนี้ ขณะที่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นที่ปรึกษาให้กับโครงการและให้คำแนะนำกับชุมชนในการพัฒนาตนเองเป็นผู้ประกอบการในอนาคต

Impact Level
Impact

Since the first-year activity on the zero-waste banana tree bringing the new value-added product called organic liquid fertilizer going to the second-year activity on the supplementary careers constructing the additional outcomes such as bamboo charcoal and termite mushroom till the third-year for creating an idea of banana plantation and products learning center forming the new value-added from banana such as Tule cracker, banana flour and banana powder capsule. Those activities bring up the impacts via 1) economic, 2) social and 3) environmental in the community.
1. Economic perspective, it can reduce household costs per family member (around 127 families) such as monthly LPG costs of 363 Baht per month per household bamboo charcoal monthly and the solar dome; do not have to pay for chemical fertilizer because the community can substitute with the organic liquid fertilizer for vegetable cultivation reducing 40 Baht per sack. Each family normally uses around 5 sacks per month equal to 200 Baht. The toilet deodorant 10 Baht per liter using around 30 liters per month equals 300 Baht. The cost of buying vegetables is made in daily also reduce because the community can grow their plants as the supplementary career such as soft ginger 9 baht per tick, celery 13 baht per tick, spring onion 12 baht per tick, 35 baht per kg of lentils, Cantonese cabbage 25 baht per kg, Thai morning glory 12 baht per kilogram, coriander 45 baht per kg. Besides, the new value-added from banana can bring up the attractive customer such as the spa center around community area ordering to use as the healthy tea as it is checking the compound in term of science techniques. The electricity expenses of community are also reduced because of using the prototype of solar cell electric poles. In addition, the light can make the community be saved from the strangers unlike the past no light along with the community trail.
2. Social Perspective, community members in all ages can share activities within their own families. Especially, the elderly can do their own activities within their own household; for example, growing up the vegetable burning the charcoal and planting termite mushroom around their homes. These activities bring up their value on themselves.
3. Environment Perspective, it can reduce the waste from the household modifying to be the organic liquid fertilizer and causes the odors in their community mirroring community members are in good health. We can check from the record of “Village Health Center”.

การดำเนินโครงการเกิดขึ้นในชุมชนเนินใหม่โดยผู้นำชุมชนขื่อนางอ่อนศรี ภู่เจริญ ชุมชนได้เข้าร่วมมือกับคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเกือบ 4 ปี การบริการชุมชนนี้นับเป็นส่วนหนึ่งของการแบ่งปันภูมิปัญญาระหว่าง 3 ภาคส่วน คือ ชุมชน องค์กรภาครัฐ และมหาวิทยาลัย คณะเศรษฐศาสตร์ได้แบ่งปันความรู้ร่วมกับการเรียนรู้กับชุมชนตลอดโครงการเพื่อสร้างการปรับเปลี่ยนให้เห็นความชัดเจนกับโครงการที่เน้นเรื่อง "กล้วยกับการสร้างมูลค่าเพิ่ม" และ "การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในกระบวนการผลิตเพื่อสดค่าใช้จ่าย" เนื่องจากแง่มุมการมองนี้เป็นแนวทางทางเลือกเพื่อช่วยชุมชนในด้านของการลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้พลังงาน ร่วมกับกระบวนการผลิตกล้วย กล้วยเป็นผลไม้ที่มีวิตามินที่มีคุณประโยชน์อย่างสูง นับจากปี 2560 จนถึงปัจจุบัน ความร่วมมือระหว่างคณะเศรษฐศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ได้ร่วมกันสร้างความคิดร่วมกับชุมชนในการพัฒนาพื้นที่ภายในชุมชนนำไปสู่การสร้างศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับสวนกล้วย โครงการนี้เริ่มดำเนินการโดยคณะเศรษฐศาสตร์และนิสิตของคณะฯร่วมกับความต้องการของชุมชนประชุมตกลงกันว่ากล้วยเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นทรัพยากรที่ชุมชนนำมาใช้ประโยชน์อย่างมีนัยสําคัญ ชุมชนเสนอการใช้ที่ดิน 1 ไร่เพื่อการพัฒนาและดำเนินกระบวนการในการปลูกกล้วยและนําไปสู่ความคิดในการสร้างศูนย์การเรียนรู้กล้วยในชุมชน เพราะสมาชิกของชุมชนเชื่อว่า "กล้วย" เป็นพืชที่ปลูกกันได้โดยทั่วไปในบ้านร่วมกับชีวิตของคนไทยมาเป็นเวลานาน เพราะสามารถใช้เป็นอาหารภายในท้องถิ่นเช่น ใบกล้วยใช้ในการห่อของ นอกจากนี้ ลําต้นของกล้วยชุมชนสามารถนำมาใช้เป็นอาหารเพื่อสัตว์เลี้ยงและใช้ทําเชือกที่เป็นนวัตกรรมใหม่แทนหนังยางและยังเป็นมิตรกับสภาพแวดล้อม ขณะเดียวกันกล้วยยังสามารถนำมาต่อยอดสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลาย ชุมชนได้ทำการพัฒนาร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์โดยมีความมุ่งหวังที่จะเห็นโครงการบริการวิชาการนี้เป็นเครื่องมือและแนวทางในการปลูกฝังทักษะวิชาชีพและผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชมให้กับชุมชนเนินใหม่ และนำไปสู่การสร้างความเป็นผู้นําที่ดีและความเข้มแข็งของสมาชิกในชุมชน นอกจากนี้นิสิตของคณะฯ ยังสามารถใช้ความรู้ทางเศรษฐกิจในการสนับสนุนชุมชนด้านบริการวิชาการเพื่อการวิเคราะห์โครงการกล้วย โดยเฉพาะในการคำนวณและวัดค่าใช้จ่ายเปรียบเทียบกับผลประโยชน์ที่ชุมชนได้รับสำหรับโครงการนี้ ขณะที่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นที่ปรึกษาให้กับโครงการและให้คำแนะนำกับชุมชนในการพัฒนาตนเองเป็นผู้ประกอบการในอนาคต