bg

โครงการเครือข่ายวิชาชีพแพทย์เพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบ (The Tobacco Consumption Control Project: Thai Physicians Alliance Against Tobacco (Tpaat))

Target Indicator Result
มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
SDG 3 GOOD HEALTH AND WELL-BEING
3.4 By 2030, reduce by one third premature mortality from non-communicable diseases through prevention and treatment and promote mental health and well-being 3.4.1 Mortality rate attributed to cardiovascular disease, cancer, diabetes or chronic respiratory disease Number of mortality attributed to smoking related diseases = 72,656 cases per year
3.a Strengthen the implementation of the World Health Organization Framework Convention on Tobacco Control in all countries, as appropriate 3.a.1 Age-standardized prevalence of current tobacco use among persons aged 15 years and older 1. จัดอบรมหลักสูตร Tobacco Cessation Provider (TCP) มีผู้ผ่านการอบรม 23 คน และหลักสูตร Tobacco Cessation Instructor (TCI) มีผู้ผ่านการอบรม 20 คน
2. ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลการให้บริการเลิกยาสูบและการส่งต่อผู้ป่วย ระหว่างคลินิกฟ้าใสและสายเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์ 1600 มีผู้เข้ารับบริการทั้งสิ้น 185,748 ราย เลิกสำเร็จระยะ 6 เดือน จำนวน 30,731 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.54 ของผู้รับบริการทั้งหมด (ข้อมูล ณ วันที่ 28 กันยายน 2565)
3. จัดทำแนวทางปฏิบัติในการให้บริการเลิกบุหรี่ เฉพาะโรคของแต่ละสมาคม (9 โรค) โดยบรรจุอยู่ในหนังสือ “แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการบำบัดการเสพนิโคตินในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564
4. การผลักดันยาเลิกบุหรี่ “ไซทีซีน” ให้ได้รับการพิจารณาเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติ โดยองค์การเภสัชกรรมได้มีการยื่นเอกสารข้อมูลเพื่อเสนอจดทะเบียนยากับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) คาดการณ์ว่าจะขึ้นทะเบียนได้สำเร็จประมาณ พ.ศ. 2566

Prevalence of regular smoker (aged 15 years and older) = 16.8 %
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
SDG 17 PARTNERSHIPS FOR THE GOALS
Caveat

โครงการเครือข่ายวิชาชีพแพทย์เพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบ ประกอบด้วย 4 แผนงานย่อย ได้แก่
แผนงานย่อยที่ 1 พัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้และมาตรฐานวิชาชีพ
แผนงานย่อยที่ 2 สร้างความเข้มแข็ง เชื่อมโยง และพัฒนาเครือข่ายบริการ
แผนงานย่อยที่ 3 ขยายผลสู่ NCD service
แผนงานย่อยที่ 4 พัฒนาภาคีเพื่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและการควบคุมยาสูบ

Academic activities
1. Workshop : Tobacco cessation, Smoking prevention in patients with chronic diseases.
2. Conference on tobacco control
3. Innovation : Mobile application for tobacco cessation
4. Award winner in Thailand HA National Forum
5. Training course : Tobacco Cessation Instructor (TCI), Tobacco Cessation Provider (TCP)
6. Textbook : Textbook of Tobacco Control, Toxicity and Management of Tobacco Dependency, Manual of Tobacco Dependency

Network building activities
1. National level : Tobacco cessation clinic network
2. International level : visitors from Myanmar member of parliament and Sri Lanka Ministry of Public Health personnel.

Impact Level
Impact

1. จัดอบรมหลักสูตร Tobacco Cessation Provider (TCP) มีผู้ผ่านการอบรม 23 คน และหลักสูตร Tobacco Cessation Instructor (TCI) มีผู้ผ่านการอบรม 20 คน
2. ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลการให้บริการเลิกยาสูบและการส่งต่อผู้ป่วย ระหว่างคลินิกฟ้าใสและสายเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์ 1600 มีผู้เข้ารับบริการทั้งสิ้น 185,748 ราย เลิกสำเร็จระยะ 6 เดือน จำนวน 30,731 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.54 ของผู้รับบริการทั้งหมด (ข้อมูล ณ วันที่ 28 กันยายน 2565)
3. จัดทำแนวทางปฏิบัติในการให้บริการเลิกบุหรี่ เฉพาะโรคของแต่ละสมาคม (9 โรค) โดยบรรจุอยู่ในหนังสือ “แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการบำบัดการเสพนิโคตินในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564
4. การผลักดันยาเลิกบุหรี่ “ไซทีซีน” ให้ได้รับการพิจารณาเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติ โดยองค์การเภสัชกรรมได้มีการยื่นเอกสารข้อมูลเพื่อเสนอจดทะเบียนยากับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) คาดการณ์ว่าจะขึ้นทะเบียนได้สำเร็จประมาณ พ.ศ. 2566
5. มีการจัดการประชุมมหกรรมวิชาการฟ้าใส และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best practices กับนักวิจัยทั้งในและต่างประเทศ ประจำปี 2564 เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2564 ในรูปแบบออนไลน์ ภายในงานประชุม APACT 2021 โดยมีกลุ่มสมาชิกเครือข่ายคลินิกฟ้าใส เข้าร่วมประชุม จำนวน 238 คน

Faculty of Medicine
รศ.นพ.สุทัศน์ รุ่งเรืองหิรัญญา
Assoc.prof. Tawima Sirirassamee
11 Nov 22 12:03