bg

Academic Dialogue Activity: "The May Democracy Movement Event (กิจกรรมเสวนาวิชาการ “เหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม” ฯ)

Target Indicator Result
สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก
SDG 16 PEACE, JUSTICE AND STRONG INSTITUTIONS
Caveat

กำหนดการเสวนาเรื่อง เรียนรู้ เข้าใจ ให้อภัย จดจำ : การรับรู้ การสร้างความหมาย และความทรงจำเหตุการณ์ พฤษภาประชาธรรม
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม ศ.ดร.ประสาท หลักศิลา ชั้น 2 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรโรฒ
08.30-09.00 น. ลงทะเบียน
09.00-09.15 น. กล่าวรายงาน วัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม โดย อ.ดร. ประภาภรณ์ โรจน์ศิริรัตน์
09.15-09.30 น. กล่าวเปิดงาน โดย รศ.ดร. ภูมิ มูลศิลป์ คณบดีคณะสังคมศาสตร์
09.30-12.00 น. “การเสวนาทางวิชาการ การรับรู้ การสร้างความหมาย และความทรงจำเหตุการณ์ พฤษภา 35 (รัฐประหาร 23 กุมภาพันธ์ 2434 และการชุมนุมทางการเมือง 17-21 พฤษภาคม 2535) ในสังคมการเมืองไทยร่วมสมัย”
• ผศ.ดร. ชาติชาย มุกสง ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สถานะทางประวัติศาสตร์การเมืองร่วมสมัยของเหตุการณ์พฤษภา 35
• ผศ.ดร. บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานะของความรู้ของเหตุการณ์พฤษภาคม 2535 มุมมองเชิงรัฐศาสตร์
• ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ สื่อมวลชนและผู้อยู่ร่วมในเหตุการณ์ ขบวนการนักศึกษา กรรมกร และภาคประชาชนในเหตุการณ์พฤษภาคม 2535 และผลต่อการเมืองร่วมสมัยของคนรุ่นใหม่
• อ.ดร. ถนอม ชาภักดี อดีตอาจารย์ประจำคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ขบวนการศิลปวัฒนธรรมกับการเคลื่อนไหวทางการเมืองตั้งแต่เหตุการณ์พฤษภาคม 2535
• ผศ.ดร. ปรีชญาณ์ นักฟ้อน อาจารย์ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ผู้ดำเนินรายการและร่วมเสวนา

Impact Level
Impact