Log In
bg

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) (University To Tambon Project : U2T)

Target Indicator Result
ขจัดความยากจน
SDG 1 NO POVERTY
1.3 Implement nationally appropriate social protection systems and measures for all, including floors, and by 2030 achieve substantial coverage of the poor and the vulnerable 1.3.1 Proportion of population covered by social protection floors/systems, by sex, distinguishing children, unemployed persons, older persons, persons with disabilities, pregnant women, newborns, work-injury victims and the poor and the vulnerable เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 40 ตำบล โดยประชาชนได้รับการจ้างงาน จำนวน 5 คน และบัณฑิตจบใหม่ ได้รับการจ้างงาน จำนวน 10 คน และนิสิตที่กำลังศึกษา จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ในแต่ละตำบล สรุปได้ว่า เกิดการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 800 คน
1.4 By 2030, ensure that all men and women, in particular the poor and the vulnerable, have equal rights to economic resources, as well as access to basic services, ownership and control over land and other forms of property, inheritance, natural resources, appropriate new technology and financial services, including microfinance 1.4.1 Proportion of population living in households with access to basic services - เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 40 ตำบล โดยประชาชนได้รับการจ้างงาน จำนวน 5 คน และบัณฑิตจบใหม่ ได้รับการจ้างงาน จำนวน 10 คน และนิสิตที่กำลังศึกษา จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ในแต่ละตำบล สรุปได้ว่า เกิดการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 800 คน คิดเป็นมูลค่าการจ้างงาน 105,600,000 บาท
- ประชาชนที่พื้นที่ได้รับความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามหลักสูตรของโครงการแต่ละตำบล จำนวน 30 คน รวม 40 ตำบล รวมจำนวนทั้งสิ้น 1,200 คน
- กลุ่มผู้ถูกจ้างงานทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะในการดำเนินโครงการ ตามหลักสูตรที่กระทรวง อว กำหนด จำนวน 4 รายวิชา คือ 1) Digital Literacy 2) Social Literacy 3) Language Literacy
1.a Ensure significant mobilization of resources from a variety of sources, including through enhanced development cooperation, in order to provide adequate and predictable means for developing countries, in particular least developed countries, to implement programmes and policies to end poverty in all its dimensions 1.a.3 Sum of total grants and non-debt-creating inflows directly allocated to poverty reduction programmes as a proportion of GDP งบประมาณสนับสนุนการจัดโครงการตำบลละ 800,000 บาท การจ้างงาน 2,640,000 บาท รวมทั้งสิ้น 3,440,000 บาท (รวม 40 ตำบล จำนวนเงินทั้งสิ้น 137,600,000 บาท
ขจัดความหิวโหย
SDG 2 ZERO HUNGER
2.3 By 2030, double the agricultural productivity and incomes of small-scale food producers, in particular women, indigenous peoples, family farmers, pastoralists and fishers, including through secure and equal access to land, other productive resources and inputs, knowledge, financial services, markets and opportunities for value addition and non-farm employment 2.3.2 Average income of small-scale food producers, by sex and indigenous status รายได้เฉลี่ยสำหรับผู้ถูกจ้างงานที่เป็นเพศหญิงอยู่ระหว่าง 9,000 – 15,000 บาท ต่อเดือน
มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
SDG 3 GOOD HEALTH AND WELL-BEING
3.3 By 2030, end the epidemics of AIDS, tuberculosis, malaria and neglected tropical diseases and combat hepatitis, water-borne diseases and other communicable diseases 3.3.5 Number of people requiring interventions against neglected tropical diseases เกิดกิจกรรมการเฝ้าระวัง Covid-19 ในตำบลผ่านการดำเนินโครงการแต่ละตำบล จำนวน 40 ตำบล จำนวนคนที่ได้รับบริการทั้งสิ้น 216,456 คน
การศึกษาที่เท่าเทียม
SDG 4 QUALITY EDUCATION
4.6 By 2030, ensure that all youth and a substantial proportion of adults, both men and women, achieve literacy and numeracy 4.6.1 Proportion of population in a given age group achieving at least a fixed level of proficiency in functional (a) literacy and (b) numeracy skills, by sex เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 40 ตำบล โดยประชาชนได้รับการจ้างงาน จำนวน 5 คน และบัณฑิตจบใหม่ ได้รับการจ้างงาน จำนวน 10 คน และนิสิตที่กำลังศึกษา จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ในแต่ละตำบล สรุปได้ว่า เกิดการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 800 คน คิดเป็นมูลค่าการจ้างงาน 105,600,000 บาท
การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
SDG 8 DECENT WORK AND ECONOMIC GROWTH
8.5 By 2030, achieve full and productive employment and decent work for all women and men, including for young people and persons with disabilities, and equal pay for work of equal value 8.5.1 Average hourly earnings of female and male employees, by occupation, age and persons with disabilities รายได้ต่อชั่วโมงสำหรับผู้ถูกจ้างงานอยู่ระหว่าง 37.50 – 62.50 บาท
8.6 By 2020, substantially reduce the proportion of youth not in employment, education or training 8.6.1 Proportion of youth (aged 15 24 years) not in education, employment or training เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 40 ตำบล โดยประชาชนได้รับการจ้างงาน จำนวน 5 คน และบัณฑิตจบใหม่ ได้รับการจ้างงาน จำนวน 10 คน และนิสิตที่กำลังศึกษา จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ในแต่ละตำบล สรุปได้ว่า เกิดการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 800 คน คิดเป็นมูลค่าการจ้างงาน 105,600,000 บาท
8.9 By 2030, devise and implement policies to promote sustainable tourism that creates jobs and promotes local culture and products 8.9.2 Proportion of jobs in sustainable tourism industries out of total tourism jobs เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ และผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาภายในตำบลทั้ง 40 ตำบล จำนวน 40 ผลิตภัณฑ์
ลดความเหลื่อมล้ำ
SDG 10 REDUCED INEQUALITIES
10.1 By 2030, progressively achieve and sustain income growth of the bottom 40 per cent of the population at a rate higher than the national average 10.1.1 Growth rates of household expenditure or income per capita among the bottom 40 per cent of the population and the total population เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 40 ตำบล โดยประชาชนได้รับการจ้างงาน จำนวน 5 คน และบัณฑิตจบใหม่ ได้รับการจ้างงาน จำนวน 10 คน และนิสิตที่กำลังศึกษา จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ในแต่ละตำบล สรุปได้ว่า เกิดการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 800 คน คิดเป็นมูลค่าการจ้างงาน 105,600,000 บาท
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
SDG 17 PARTNERSHIPS FOR THE GOALS
17.1 Strengthen domestic resource mobilization, including through international support to developing countries, to improve domestic capacity for tax and other revenue collection 17.1.1 Total government revenue as a proportion of GDP, by source เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 40 ตำบล โดยประชาชนได้รับการจ้างงาน จำนวน 5 คน และบัณฑิตจบใหม่ ได้รับการจ้างงาน จำนวน 10 คน และนิสิตที่กำลังศึกษา จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ในแต่ละตำบล สรุปได้ว่า เกิดการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 800 คน คิดเป็นมูลค่าการจ้างงาน 105,600,000 บาท
Caveat

โครงการ 1 ตำบล 1 มหาลัยสร้างรากแก้วให้ประเทศ เกิดขึ้นเนื่องจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรน่า 2019 (COVID-19) ทำให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศ ประชาชนว่างงานและบัณฑิตจบใหม่ ไม่สามารถหางานทำได้ รวมถึงนักศึกษาที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง ประชาชนที่ว่างงานย้ายกลับถิ่นฐานจำนวนมาก ส่งผลให้เกิดปัญหาทางสังคมตามมานโยบายการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ จึงมุ่งเน้นที่การฟื้นฟูเศรษฐกิจในระดับชุมชน ทั้งการสร้างงาน การพัฒนาอาชีพในชุมชน อาทิเช่น โครงการด้านการเกษตรสมัยใหม่ ด้านการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP การท่องเที่ยวชุมชน การส่งเสริมและสนับสนุน SMEs ในพื้นที่ เพื่อให้เกิดการบูรณาการโครงการในพื้นที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามความต้องการของพื้นที่อย่างแท้จริง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการพัฒนาชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย คือ จังหวัดนครนายก จำนวน 26 ตำบล และจังหวัดสระแก้ว จำนวน 14 ตำบล รวมทั้งสิ้น 40 ตำบล โดยมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็น System Integrator ในระดับตำบล ร่วมกับคณะและส่วนงานภายในมหาวิทยาลัย โดยใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่มีอยู่ ทำงานประสานและร่วมงานกับจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานอื่นๆ เพื่อให้การทำงานบูรณาการนี้ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลที่สามารถนำไปสู่การลดความยากจนอย่างมีเป้าหมายชัดเจน โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ 1) เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวในชุมชน ให้เกิดรายได้กับประชาชนในท้องถิ่น 2) เพื่อพัฒนำผลิตภัณฑ์ชุมชน ยกระดับสินค้าและบริการที่มีอยู่ในชุมชนให้มีศักยภาพ 3) ส่งเสริมและพัฒนาช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ สินค้าชุมชน พัฒนาตลาด และการสร้างเครือข่ายการจำหน่ายสินค้า

Impact Level
Impact

ผลกระทบที่เกิดขึ้น:
- งบประมาณสนับสนุนการจัดโครงการตำบลละ 800,000 บาท การจ้างงาน 2,640,000 บาท รวมทั้งสิ้น 3,440,000 บาท (รวม 40 ตำบล จำนวนเงินทั้งสิ้น 137,600,000 บาท
- เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 40 ตำบล โดยประชาชนได้รับการจ้างงาน จำนวน 5 คน และบัณฑิตจบใหม่ ได้รับการจ้างงาน จำนวน 10 คน และนิสิตที่กำลังศึกษา จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ในแต่ละตำบล สรุปได้ว่า เกิดการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 800 คน คิดเป็นมูลค่าการจ้างงาน 105,600,000 บาท
- กลุ่มผู้ถูกจ้างงานทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะในการดำเนินโครงการ ตามหลักสูตรที่กระทรวง อว กำหนด จำนวน 4 รายวิชา คือ 1) Digital Literacy 2) Social Literacy 3) Language Literacy
- รายได้เฉลี่ยสำหรับผู้ถูกจ้างงานอยู่ระหว่าง 9,000 – 15,000 บาท ต่อเดือน
- ประชาชนที่พื้นที่ได้รับความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามหลักสูตรของโครงการแต่ละตำบล จำนวน 30 คน รวม 40 ตำบล รวมจำนวนทั้งสิ้น 1,200 คน
- เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ และผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาภายในตำบลทั้ง 40 ตำบล จำนวน 40 ผลิตภัณฑ์
- เกิดกิจกรรมการเฝ้าระวัง Covid-19 ในตำบลผ่านการดำเนินโครงการแต่ละตำบล จำนวน 40 ตำบล จำนวนคนที่ได้รับบริการทั้งสิ้น 216,456 คน

Social Service Office
Ms. Narumon Kamchun
10 Nov 22 08:52