bg

โครงการพัฒนาบุคลากรด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพในชุมชน : การออกแบบผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์

Target Indicator Result
ขจัดความยากจน
SDG 1 NO POVERTY
1.4 By 2030, ensure that all men and women, in particular the poor and the vulnerable, have equal rights to economic resources, as well as access to basic services, ownership and control over land and other forms of property, inheritance, natural resources, appropriate new technology and financial services, including microfinance 1.4.1 Proportion of population living in households with access to basic services 1. ชุมชนไม่น้อยกว่า 6 ชุมชน มีรายได้ให้กับท้องถิ่นของตนเองอย่างเป็นระบบ เฉลี่ย 5 - 10% จากรายได้ที่ได้รับก่อนการเข้าร่วมโครงการ (2,000 - 12,000 บาท)
2. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ใช้กระบวนการตามงานวิจัย แท่งยาถมดำปราศจากตะกั่ว ไม่น้อยกว่า 5 ผลิตภัณฑ์
พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้
SDG 7 AFFORDABLE AND CLEAN ENERGY
7.1 By 2030, ensure universal access to affordable, reliable and modern energy services 7.1.2 Proportion of population with primary reliance on clean fuels and technology 1. ชุมชนไม่น้อยกว่า 6 ชุมชน มีรายได้ให้กับท้องถิ่นของตนเองอย่างเป็นระบบ เฉลี่ย 5 - 10% จากรายได้ที่ได้รับก่อนการเข้าร่วมโครงการ (2,000 - 12,000 บาท) และลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือก๊าซเรือนกระจกสู่สิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากการสถานประกอบการทางด้านเครื่องประดับจากเครื่องถมโดยประมาณ 1 - 5%
การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
SDG 8 DECENT WORK AND ECONOMIC GROWTH
8.3 Promote development-oriented policies that support productive activities, decent job creation, entrepreneurship, creativity and innovation, and encourage the formalization and growth of micro-, small- and medium-sized enterprises, including through access to financial services 8.3.1 Proportion of informal employment in non?agriculture employment, by sex 1. ชุมชนไม่น้อยกว่า 6 ชุมชน มีรายได้ให้กับท้องถิ่นของตนเองอย่างเป็นระบบ เฉลี่ย 5 - 10% จากรายได้ที่ได้รับก่อนการเข้าร่วมโครงการ (2,000 - 12,000 บาท)
Caveat

สืบเนื่องจากการวิจัยการพัฒนานวัตกรรม "แท่งยาถมดำปราศจากตะกั่ว" (สิทธิบัตรเลขที่ 1101001747) วิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดำเนินการบริการวิชาการเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ (นวัตกรรม) และการประยุกต์หาเอกลักษณ์ยาถมและแนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง (ตั้งแต่ปี 2561 จนถึงปัจจุบัน) ในการส่งเสริมศักยภาพชุมชน ผ่านการดำเนินโครงการพัฒนาบุคลากรด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพในชุมชน : การออกแบบผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ ผ่านการบูรณาการร่วมกันระหว่าง สมาคมช่างทองไทย กลุ่มเครื่องถม จังหวัดสระแก้ว และชุมชนอำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก โดยมีรายละเอียดของกิจกรรม ดังนี้
1. การจัดการความรู้เพื่อความเป็นผุ้ประกอบการเพื่อสังคม
2. การอบรมความรู้การเป็นผู้ประกอบการใหม่
3. การนำเสนอทางวิชาการผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ จากการนำแท่งยาถมดำปราศจากตะกั่วมาใช้ในการผลิตภัณฑ์ใหม่

Impact Level
Impact

1. เกิดการเชื่อมโยงกับรูปแบบอัตลักษณ์เครื่องถมปราศจากตะกั่วกับแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดสระแก้ว
2. ชุมชนไม่น้อยกว่า 6 ชุมชน มีรายได้ให้กับท้องถิ่นของตนเองอย่างเป็นระบบ เฉลี่ย 5 - 10% จากรายได้ที่ได้รับก่อนการเข้าร่วมโครงการ (2,000 - 12,000 บาท)
3. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ใช้กระบวนการตามงานวิจัย แท่งยาถมดำปราศจากตะกั่ว ไม่น้อยกว่า 5 ผลิตภัณฑ์
4. เกิดการสร้างเครือข่ายร่วมกับผู้ประกอบการในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชน ไม่น้อยกว่า 5 เครือข่าย ที่มีลักษณะการประกอบอาชีพที่คล้ายคลึงกัน
5. เป็นการส่งเสริมการลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือก๊าซเรือนกระจกสู่สิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากการสถานประกอบการทางด้านเครื่องประดับจากเครื่องถมโดยประมาณ 1 - 5%

การออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องถมดำปราศจากตะกั่ว โดยนักเรียนประจำจังหวัดสระแก้ว
การออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องถมดำปราศจากตะกั่ว โดยนักเรียนประจำจังหวัดสระแก้ว
การสาธิตในการประดิษฐ์อัญมณี และเครื่องประดับ
การสาธิตในการประดิษฐ์อัญมณี และเครื่องประดับ
College of Creative Industry
ผศ.ดร.ขจีพร วงศ์ปรีดี
Ms. Areerat Laonoi
10 Nov 23 16:36