bg

The Project For Enhancing The Quality Of Education And Local Development, With Higher Education Institutions As Mentors (โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง)

Target Indicator Result
การศึกษาที่เท่าเทียม
SDG 4 QUALITY EDUCATION
4.2 By 2030, ensure that all girls and boys have access to quality early childhood development, care and pre?primary education so that they are ready for primary education 4.2.1 Proportion of children under 5 years of age who are developmentally on track in health, learning and psychosocial well-being, by sex นักเรียนชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 632 คน ความรู้ ทักษะในการอ่าน รักในการอ่านและเข้ามาใช้พื้นที่ในชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4.4 By 2030, substantially increase the number of youth and adults who have relevant skills, including technical and vocational skills, for employment, decent jobs and entrepreneurship 4.4.1 Proportion of youth and adults with information and communications technology (ICT) skills, by type of skill ครู ผู้บริหาร นักการศึกษา ผู้ปกครอง ผู้สนใจและผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาจะมีความรู้และได้รับประสบการณ์เกี่ยวกับการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านสำหรับเด็กไทย และการพัฒนาทักษะด้านการผลิตและใช้สื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศ (IT) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 67 คน
4.5 By 2030, eliminate gender disparities in education and ensure equal access to all levels of education and vocational training for the vulnerable, including persons with disabilities, indigenous peoples and children in vulnerable situations 4.5.1 Parity indices (female/male, rural/urban, bottom/top wealth quintile and others such as disability status, indigenous peoples and conflict-affected, as data become available) for all education indicators on this list that can be disaggregated 1. นักเรียนชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 632 คน ความรู้ ทักษะในการอ่าน รักในการอ่านและเข้ามาใช้พื้นที่ในชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ครู ผู้บริหาร นักการศึกษา ผู้ปกครอง ผู้สนใจและผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาจะมีความรู้และได้รับประสบการณ์เกี่ยวกับการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านสำหรับเด็กไทย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 67 คน
4.6 By 2030, ensure that all youth and a substantial proportion of adults, both men and women, achieve literacy and numeracy 4.6.1 Proportion of population in a given age group achieving at least a fixed level of proficiency in functional (a) literacy and (b) numeracy skills, by sex 1. นักเรียนชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 632 คน ความรู้ ทักษะในการอ่าน รักในการอ่านและเข้ามาใช้พื้นที่ในชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ครู ผู้บริหาร นักการศึกษา ผู้ปกครอง ผู้สนใจและผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาจะมีความรู้และได้รับประสบการณ์เกี่ยวกับการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านสำหรับเด็กไทย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 67 คน
4.7 By 2030, ensure that all learners acquire the knowledge and skills needed to promote sustainable development, including, among others, through education for sustainable development and sustainable lifestyles, human rights, gender equality, promotion of a culture of peace and non-violence, global citizenship and appreciation of cultural diversity and of culture's contribution to sustainable development 4.7.1 Extent to which (i) global citizenship education and (ii) education for sustainable development, including gender equality and human rights, are mainstreamed at all levels in (a) national education policies; (b) curricula; (c) teacher education; and (d) student assessment เกิดแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับนักเรียน และประชาชนทั่วไปในชุมชน ไม่น้อยกว่า 6 แหล่งการเรียนรู้
4.a Build and upgrade education facilities that are child, disability and gender sensitive and provide safe, non-violent, inclusive and effective learning environments for all 4.a.1 Proportion of schools with access to (a) electricity; (b) the Internet for pedagogical purposes; (c) computers for pedagogical purposes; (d) adapted infrastructure and materials for students with disabilities; (e) basic drinking water; (f) single-sex basic sanitation facilities; and (g) basic handwashing facilities (as per the WASH indicator definitions) โรงเรียนที่ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพ จำนวน 6 โรงเรียน
Caveat

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ได้แก่ ได้แก่ รูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและโรงเรียนโดยใช้แนวคิดทุนทางสังคมและการเสริมพลังเพื่อเสริมสร้างนิสัยรักการอ่านให้กับเด็ก โดยกำหนดจัดกิจกรรมในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1 โรงเรียนและจังหวัดอ่างทอง 5 โรงเรียน และมีทีมพี่เลี้ยงที่รับผิดชอบจำนวน 5 คน โดยมีกิจกรรมหลักสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของครู และนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 6 โรงเรียน จำนวน 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดอ่างทอง คณะครู จำนวน 67 คน และนักเรียนชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 632 คน ดังนี้
1. กิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนของเด็กไทย
2. กิจกรรมพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
3. กิจกรรมพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่สอดคล้องหรือกับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 เพื่อเปิดโอกาสให้โรงเรียนได้พัฒนาแนวทางและสื่อการเรียนการสอนเพื่อลดช่องว่างทางการศึกษาในช่วงระหว่าง/หลังสถานการณ์ เช่น กิจกรรมการผลิตและใช้สื่อเทคโนโลยีและสารสนเทศ (IT) เพื่อการเรียนการสอน เป็นต้น
4. กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและหน่วยงานทุกภาคส่วนในพื้นที่ โดยบูรณาการองค์ความรู้ด้านวิชาการ วิชาชีพและทักษะชีวิต เพื่อสร้างรายได้ สร้างอาชีพ และยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน

Impact Level
Impact

1. นักเรียนชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 632 คน ความรู้ ทักษะในการอ่าน รักในการอ่านและเข้ามาใช้พื้นที่ในชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. ครู ผู้บริหาร นักการศึกษา ผู้ปกครอง ผู้สนใจและผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาจะมีความรู้และได้รับประสบการณ์เกี่ยวกับการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านสำหรับเด็กไทย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 67 คน
3. ผู้ปกครอง ชุมชน ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่านและเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมการอ่านของนักเรียนเพิ่มขึ้น
4. เกิดแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับนักเรียน และประชาชนทั่วไปในชุมชน ไม่น้อยกว่า 6 แหล่งการเรียนรู้

กิจกรรมจัดอบรมการประชุมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาครู 6 โรงเรียน
กิจกรรมจัดอบรมการประชุมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาครู 6 โรงเรียน
กิจกรรมตลาดนัดนิทาน
กิจกรรมตลาดนัดนิทาน
กิจกรรมการอ่านให้ฟังโดยคุณครู
กิจกรรมการอ่านให้ฟังโดยคุณครู
Faculty of Education
Ms. Areerat Laonoi
20 Dec 24 14:40