bg

Re-Inventing University 2024 ( โครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 )

Target Indicator Result
ขจัดความยากจน
SDG 1 NO POVERTY
1.2 By 2030, reduce at least by half the proportion of men, women and children of all ages living in poverty in all its dimensions according to national definitions 1.2.1 Proportion of population living below the national poverty line, by sex and age 1. ผู้ประกอบการด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และกำลังคนได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี/องค์ความรู้ และนำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศรษฐกิจท้องถิ่นเพิ่มขึ้น 1,030 คน จากเป้าหมายคือ ผู้ประกอบการชาย/หญิง และผู้สูงอายุที่ว่างงานในพื้นที่
2. เกิดรายได้ชุมชนในภาพรวม 1000 - 2000 บาท/เดือน ทุกครัวเรือน (กลุ่มเป้าหมาย 60 ครัวเรือน) จากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการจำหน่ายสินค้าจากแหล่งท่องเที่ยว
1.4 By 2030, ensure that all men and women, in particular the poor and the vulnerable, have equal rights to economic resources, as well as access to basic services, ownership and control over land and other forms of property, inheritance, natural resources, appropriate new technology and financial services, including microfinance 1.4.1 Proportion of population living in households with access to basic services 1. ผู้ประกอบการด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และกำลังคนได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี/องค์ความรู้ และนำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศรษฐกิจท้องถิ่นเพิ่มขึ้น 1,030 คน จากเป้าหมายคือ ผู้ประกอบการชาย/หญิง และผู้สูงอายุที่ว่างงานในพื้นที่
2. เกิดรายได้ชุมชนในภาพรวม 1000 - 2000 บาท/เดือน ทุกครัวเรือน (กลุ่มเป้าหมาย 60 ครัวเรือน) จากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการจำหน่ายสินค้าจากแหล่งท่องเที่ยว
Caveat

โครงการพลิกโฉมสถาบันอุดมศึกษา (Re-inventing University) เป็นโครงการที่สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) ได้เริ่มดำเนินการนำร่องมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบัน เพื่อต้องการให้สถาบันอุดมศึกษามีการปฏิรูประบบการบริหาร ปรับเปลี่ยนหลักสูตรและ การเรียนการสอนให้ทันสมัย เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม การผลิตกำลังคนคุณภาพสูง โดยการส่งเสริมสนับสนุนและจัดสรรงบประมาณให้สถาบันอุดมศึกษามีความเป็นเลิศตามจุดแข็งของสถาบันอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของประเทศ สร้างจุดต่างตามความถนัดและมีความหลากหลายตามพันธกิจและความเชี่ยวชาญ ภายใต้กลไก 5 แพลตฟอร์ม ได้แก่ 1) การพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอน 2) การพัฒนาและแสวงหาบุคลากร 3) ความเป็นนานาชาติ 4) การบริหารงานวิจัยและนวัตกรรม 5) การสร้างแพลทฟอร์มความร่วมมือ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในฐานเป็นสถาบันการอุดมศึกษา ที่อยู่ภายใต้กำกับของ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จึงมีการดำเนินโครงการพลิกโฉมสถาบันอุดมศึกษา ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เป็นต้นมา มีการจัดโครงการเพื่อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์เชิงพื้นที่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และพัฒนากำลังคนรองรับเศรษฐกิจสร้างสรรค์

โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2567 มีการจัดกิจกรรมพัฒนากำลังคนและผู้ประกอบการเพื่อสังคมด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน ในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยถ่ายทอดฐานองค์ความรู้ทางธุรกิจ Smart Farming การตลาดสำหรับธุรกิจผลิตภัณฑ์ชุมชนและเทคนิคการค้าออนไลน์ การเป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ และสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว เสริมสร้างการพัฒนาผลิตภัณฑ์และวิสาหกิจชุมชน โดยเน้นฐานทุนวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พัฒนาบรรจุภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน และพัฒนานวัตกรรมและแอพพลิเคชั่นฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัย และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน เสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชนเชิงสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยสร้างสรรค์อัตลักษณ์ของชุมชนผ่านมิติของศิลปะการแสดงแขนง| ดุริยางคศิลป์ และนาฏศิลป์ พัฒนาแผนที่นำเที่ยวทางวัฒนธรรม (Cultural Mapping) และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์และเครือข่ายการท่องเที่ยวชุมชน

Impact Level
Impact

1. ตําบลบ้านขวาง อําเภอมหาราช จังหวดพระนครศรอยธยา รับผิดชอบโดยคณะบรหารธรกจเพื่อ สังคม มีผลการประเมิน SROI อยู่ที่ 1 : 2.07 เท่า สามารถอธิบายผลกระทบที่สําคัญ (Impact Dimension) คือ 1) ประชาชนในพื้นที่มีทักษะที่เพิ่มขึ้น ในด้านการประสานงาน/การทำงานในชุมชนเครือข่าย/การเมือง/ประชาธิปไตย ด้านการประกอบธุรกิจ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการ ด้านการตลาด และด้านนวัตกรรมเพื่อผลิตหรือบริโภคอย่างยั่งยืน 2) ประชาชนในพื้นที่มีการต่อยอดเป็นอาชีพ 3) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการพัฒนา/ยกระดับนวัตกรรม-ผลิตภัณฑ์ 4) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการนำไปสู่การขยายผล ส่งผลให้เกิดการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก นำไปสู่การมีเครือข่ายภาคี/โอกาสต่อยอดความร่วมมือ/ทุนสนับสนุน/ทรัพยากรต่อยอด และ 5) เกิดการพัฒนาโครงสร้างการทำงานร่วมกันในชุมชน ปรับปรุงกระบวนการ พฤติกรรม ระบบการทำงาน ส่งผลให้เกิดต้นแบบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในชุมชน

2. ตำบลพุทเลา อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รับผิดชอบโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มีผลการประเมิน SROI อยู่ที่ 1 : 1.87 เท่า สามารถอธิบายผลกระทบที่สำคัญ (Impact Dimension) คือ 1) ประชาชนในพื้นที่มีทักษะที่เพิ่มขึ้น ในด้านการประสานงาน/การทำงานในชุมชนเครือข่าย/การเมือง/ประชาธิปไตย ด้านการประกอบธุรกิจ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการ ด้านการตลาด และด้านนวัตกรรมเพื่อผลิตหรือบริโภคอย่างยั่งยืน 2) ประชาชนในพื้นที่ได้รับค่าจ้างในการดำเนินงาน 3) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการพัฒนา/ยกระดับนวัตกรรม-ผลิตภัณฑ์ 4) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการนำไปสู่การขยายผล ส่งผลให้เกิดการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก นำไปสู่การมีเครือข่ายภาคี/โอกาสต่อยอดความร่วมมือ/ทุนสนับสนุน/ทรัพยากรต่อยอด และ 5) เกิดการพัฒนาโครงสร้างการทำงานร่วมกันในชุมชน ปรับปรุงกระบวนการ พฤติกรรม ระบบการทำงาน ส่งผลให้เกิดต้นแบบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในชุมชน

3. ตำบลบ้านช้าง ตำบลโพสาวหาญ ตำบลหนองไม้ซุง อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รับผิดชอบโดยคณะเภสัชศาสตร์ มีผลการประเมิน SROI อยู่ที่ 1 : 2.71 เท่า สามารถอธิบายผลกระทบที่สำคัญ (Impact Dimension) คือ 1) ประชาชนในพื้นที่มีทักษะที่เพิ่มขึ้น ในด้านการประสานงาน/การทำงานในชุมชนเครือข่าย/การเมือง/ประชาธิปไตย ด้านการประกอบธุรกิจ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการ ด้านการตลาด และด้านนวัตกรรมเพื่อผลิตหรือบริโภคอย่างยั่งยืน 2) ประชาชนในพื้นที่ได้รับค่าจ้างในการดำเนินงาน 3) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการพัฒนา/ยกระดับนวัตกรรม-ผลิตภัณฑ์ 4) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการนำไปสู่การขยายผล ส่งผลให้เกิดการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก นำไปสู่การมีเครือข่ายภาคี/โอกาสต่อยอดความร่วมมือ/ทุนสนับสนุน/ทรัพยากรต่อยอด และ 5) เกิดการพัฒนาโครงสร้างการทำงานร่วมกันในชุมชน ปรับปรุงกระบวนการ พฤติกรรม ระบบการทำงาน ส่งผลให้เกิดต้นแบบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในชุมชน

4. ตำบลกระทุ่ม ตำบลบางนา ตำบลโรงช้าง ตำบลน้ำเต้า อำเภอมหาราช รับผิดชอบโดยคณะสังคมศาสตร์ มีผลการประเมิน SROI อยู่ที่ 1 : 2.21 เท่า สามารถอธิบายผลกระทบที่สำคัญ (Impact Dimension) คือ 1) ประชาชนในพื้นที่มีทักษะที่เพิ่มขึ้น ในด้านการประสานงาน/การทำงานในชุมชนเครือข่าย/การเมือง/ประชาธิปไตย ด้านการประกอบธุรกิจ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการ ด้านการตลาด และด้านนวัตกรรมเพื่อผลิตหรือบริโภคอย่างยั่งยืน 2) ประชาชนในพื้นที่ได้รับค่าจ้างในการดำเนินงาน 3) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการพัฒนา/ยกระดับนวัตกรรม-ผลิตภัณฑ์ 4) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการนำไปสู่การขยายผล ส่งผลให้เกิดการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก นำไปสู่การมีเครือข่ายภาคี/โอกาสต่อยอดความร่วมมือ/ทุนสนับสนุน/ทรัพยากรต่อยอด และ 5) เกิดการพัฒนาโครงสร้างการทำงานร่วมกันในชุมชน ปรับปรุงกระบวนการ พฤติกรรม ระบบการทำงาน ส่งผลให้เกิดต้นแบบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในชุมชน

5. ตำบลชายนา ตำบลมารวิชัย ตำบลบ้านแถว ตำบลสามตุ่ม อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รับผิดชอบโดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ มีผลการประเมิน SROI อยู่ที่ 1: 1.92 เท่า สามารถอธิบายผลกระทบที่สำคัญ (Impact Dimension) คือ 1) ประชาชนในพื้นที่มีทักษะที่เพิ่มขึ้น ในด้านการประสานงาน/การทำงานในชุมชนเครือข่าย/การเมือง/ประชาธิปไตย ด้านการประกอบธุรกิจ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการ ด้านการตลาด และด้านนวัตกรรมเพื่อผลิตหรือบริโภคอย่างยั่งยืน 2) ประชาชนในพื้นที่ได้รับค่าจ้างในการดำเนินงาน 3) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการพัฒนา/ยกระดับนวัตกรรม-ผลิตภัณฑ์ 4) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการนำไปสู่การขยายผล ส่งผลให้เกิดการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก นำไปสู่การมีเครือข่ายภาคี/โอกาสต่อยอดความร่วมมือ/ทุนสนับสนุน/ทรัพยากรต่อยอด และ 5) เกิดการพัฒนาโครงสร้างการทำงานร่วมกันในชุมชน ปรับปรุงกระบวนการ พฤติกรรม ระบบการทำงาน ส่งผลให้เกิดต้นแบบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในชุมชน

6. ตำบลหัวเวียง ตำบลหัวไผ่ อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รับผิดชอบโดยวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มีผลการประเมิน SROI อยู่ที่ 1: 2.50 เท่า สามารถอธิบายผลกระทบที่สำคัญ (Impact Dimension) คือ 1) ประชาชนในพื้นที่มีทักษะที่เพิ่มขึ้น ในด้านการประสานงาน/การทำงานในชุมชนเครือข่าย/การเมือง/ประชาธิปไตย ด้านการประกอบธุรกิจ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการ ด้านการตลาด และด้านนวัตกรรมเพื่อผลิตหรือบริโภคอย่างยั่งยืน 2) ประชาชนในพื้นที่ได้รับค่าจ้างในการดำเนินงาน 3) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการพัฒนา/ยกระดับนวัตกรรม-ผลิตภัณฑ์ 4) วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพเกิดการนำไปสู่การขยายผล ส่งผลให้เกิดการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก นำไปสู่การมีเครือข่ายภาคี/โอกาสต่อยอดความร่วมมือ/ทุนสนับสนุน/ทรัพยากรต่อยอด และ 5) เกิดการพัฒนาโครงสร้างการทำงานร่วมกันในชุมชน ปรับปรุงกระบวนการ พฤติกรรม ระบบการทำงาน ส่งผลให้เกิดต้นแบบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในชุมชน

พิธีการลงนามข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กับ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านช้าง ตำบลบ้านช้าง อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พิธีการลงนามข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กับ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านช้าง ตำบลบ้านช้าง อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พิธีการลงนามข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่าง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กับ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และโรงเรียนราษฎร์บำรุงศิลป์ ตำบลเสนา อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พิธีการลงนามข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่าง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กับ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และโรงเรียนราษฎร์บำรุงศิลป์ ตำบลเสนา อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การพัฒนาระบบโรงเรือนมาตรฐานผลิตอาหารปลอดภัย (Food Safety) ในระบบ Smart Farming สู่การพัฒนากำลังคนผู้มีองค์ความรู้ด้านการเพาะพันธุ์พืชผำในระบบโรงเรือนมาตรฐานผลิตอาหารปลอดภัย (Food Safety) ในระบบ Smart Farming เพื่อเป็นอาหารและนวัตกรรมทางอาหาร พัฒนาผลผลิตเพื่อสร้างมูลค่า
การพัฒนาระบบโรงเรือนมาตรฐานผลิตอาหารปลอดภัย (Food Safety) ในระบบ Smart Farming สู่การพัฒนากำลังคนผู้มีองค์ความรู้ด้านการเพาะพันธุ์พืชผำในระบบโรงเรือนมาตรฐานผลิตอาหารปลอดภัย (Food Safety) ในระบบ Smart Farming เพื่อเป็นอาหารและนวัตกรรมทางอาหาร พัฒนาผลผลิตเพื่อสร้างมูลค่า
การพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยทุนทางวัฒนธรรมของชุมชน ตำบลพุทเลา อำเภอบางปะหัน อำเภอพระนครศรีอยุธยา
การพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยทุนทางวัฒนธรรมของชุมชน ตำบลพุทเลา อำเภอบางปะหัน อำเภอพระนครศรีอยุธยา
การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อการจำหน่าย เพื่อส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์
การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อการจำหน่าย เพื่อส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์