Target | Indicator | Result |
---|---|---|
SDG 2
ZERO HUNGER
|
||
2.3 By 2030, double the agricultural productivity and incomes of small-scale food producers, in particular women, indigenous peoples, family farmers, pastoralists and fishers, including through secure and equal access to land, other productive resources and inputs, knowledge, financial services, markets and opportunities for value addition and non-farm employment | 2.3.1 Volume of production per labour unit by classes of farming/pastoral/forestry enterprise size | คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตรได้ดำเนินโครงการบริการวิชาการชุมชนโดยเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบท้องถื่นในจังหวัดนครนายก โดยในปีงบประมาณ 2563 ได้มีการขยายผลไปยังพื้นที่เพิ่มเติมคือ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านบางควายลุย ต.บางอ้อ อ.บ้านนา จ.นครนายก |
2.5 By 2020, maintain the genetic diversity of seeds, cultivated plants and farmed and domesticated animals and their related wild species, including through soundly managed and diversified seed and plant banks at the national, regional and international levels, and promote access to and fair and equitable sharing of benefits arising from the utilization of genetic resources and associated traditional knowledge, as internationally agreed | 2.5.1 Number of plant and animal genetic resources for food and agriculture secured in either medium- or long-term conservation facilities | พืชที่ได้รับการอนุรักษ์และพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑือาหารเพื่อสุขภาพเพิ่มเติม 1 รายการคือ มะดัน |
SDG 4
QUALITY EDUCATION
|
||
4.4 By 2030, substantially increase the number of youth and adults who have relevant skills, including technical and vocational skills, for employment, decent jobs and entrepreneurship | 4.4.1 Proportion of youth and adults with information and communications technology (ICT) skills, by type of skill |
โครงการการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากด้วยเทตโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนและงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร การจัดการวัสดุพอลิเมอร์เพื่อสิ่งแวดล้อม จุลชีววิทยาและเทคโนโลยีชีวภาพ และเทคนิคการประกอบอาหาร ในการช่วยพัฒนาผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการ ให้นิสิตได้ใช้ปัญหาเป็นโจทย์เน้นการแก้ปัญหา พัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยเทคโนโลยี นวัตกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. ผู้เข้าร่วมโครงการ/ชุมชนได้รับการถ่ายทอดความรู้ มีการพัฒนากระบวนการคิด และสามารถติดต่อมหาวิทยาลัยเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆได้ในอนาคต
2. ผู้เข้าร่วมโครงการ/ชุมชนนำสูตรและกระบวนการผลิตไปใช้เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
3. ผู้เข้าร่วมโครงการ/ชุมชน มีความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากวัตถุดิบในพื้นที่ การแปรรูป และการใช้วัตถุเจือปนอาหารอย่างเหมาะสม ให้ได้ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และมีคุณประโยชน์ต่อสุขภาพ และมีความสามารถในการต่อยอดขยายการผลิตเชิงพาณิชย์
4. ผู้เข้าร่วมโครงการ/ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองได้จากผลิตผลทางการเกษตรในพื้นที่
5.ผู้เข้าร่วมโครงการ/ชุมชนการได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในด้านแนวความคิดในการปรับตัวของภาคธุรกิจอาหารและเกษตรในยุค New Normal และการตลาดออนไลน์ การทำ Digital marketing