Log In
bg

Srinakharinwirot Music Camp For Developing The Academic Potential And Music 9Th

Target Indicator Result
การศึกษาที่เท่าเทียม
SDG 4 QUALITY EDUCATION
4.7 By 2030, ensure that all learners acquire the knowledge and skills needed to promote sustainable development, including, among others, through education for sustainable development and sustainable lifestyles, human rights, gender equality, promotion of a culture of peace and non-violence, global citizenship and appreciation of cultural diversity and of culture's contribution to sustainable development 4.7.1 Extent to which (i) global citizenship education and (ii) education for sustainable development, including gender equality and human rights, are mainstreamed at all levels in (a) national education policies; (b) curricula; (c) teacher education; and (d) student assessment
Caveat

โครงการค่ายดนตรีศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาการและดนตรีสากล ครั้งที่ 9 เป็นกิจกรรมการบรรยายให้ความรู้และความเข้าใจในทักษะดนตรี และมีส่วนผลักดันให้ผู้ร่วมโครงการเกิดจิตสาธารณะในการให้บริการสังคมเพิ่มขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์
1.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านดนตรีอันมีประโยชน์ที่ตอบสนองต่อความต้องการ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามบริบททางการศึกษาดนตรีท้องถิ่น โดยนิสิตและอาจารย์จัดการบริการให้ความรู้ในศาสตร์ดุริยางคศาสตร์สากล ที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาชุมชนในโรงเรียนที่มีความต้องการรับบริการ และได้ฝึกจิตสำนึกสาธารณะของนิสิตในการเผยแพร่ความรู้แก่สังคมที่ขาดโอกาสด้านดนตรี
2.เพื่อเสริมสร้างศักยภาพทางด้านการสอนดนตรีแก่นิสิตสาขาวิชาดนตรีศึกษา และสาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล อย่างจริงจังอันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาด้านดนตรีสากล
3.เพื่อเป็นการบริการวิชาการในพื้นที่จังหวัดนครนายก และเสริมสร้างประสบการณ์การสอนดนตรี รวมทั้งยังเป็นการเผยแพร่ดนตรีสู่สาธารณชน
4.เพื่อสนับสนุนกิจกรรมที่บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาของหลักสูตร ให้กับโรงเรียน
ในพื้นที่ห่างไกล ซึ่งนิสิตสามารถสร้างสรรค์จัดกิจกรรมสอนดนตรี ร้องรำทำเพลง และกระตุ้นให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ รวมทั้งเห็นกระบวนการทำงานด้านการสอนดนตรีต่อไป

Impact Level
Impact

1.ได้พัฒนาองค์ความรู้ด้านดนตรีอันมีประโยชน์ที่ตอบสนองต่อความต้องการ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามบริบททางการศึกษาดนตรีท้องถิ่น โดยนิสิตและอาจารย์จัดการบริการให้ความรู้ในศาสตร์ดุริยางคศาสตร์สากล ที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาชุมชนในโรงเรียนที่มีความต้องการรับบริการ และได้ฝึกจิตสำนึกสาธารณะของนิสิตในการเผยแพร่ความรู้แก่สังคมที่ขาดโอกาสด้านดนตรี
2.ได้เสริมสร้างศักยภาพทางด้านการสอนดนตรีแก่นิสิตสาขาวิชาดนตรีศึกษา และสาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล อย่างจริงจังอันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาด้านดนตรีสากล
3.ได้บริการวิชาการในพื้นที่จังหวัดนครนายก และเสริมสร้างประสบการณ์การสอนดนตรีด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม รวมทั้งยังเป็นการเผยแพร่ดนตรีสู่สาธารณชน และสอดคล้องกับสถานการณ์ ไวรัสโคโรนา(โควิด19) ด้วยระบบออนไลน์
4.ได้สนับสนุนกิจกรรมที่บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาของหลักสูตรให้กับโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล ซึ่งนิสิตสามารถสร้างสรรค์จัดกิจกรรมสอนดนตรีร้องรำทำเพลง และกระตุ้นให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ รวมทั้งเห็นกระบวนการทำงานด้านการสอนดนตรีต่อไป

Faculty of Fine Arts
สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล
Asst.prof. Metee Punvaratorn
25 Jul 23 09:58