bg

The Project To Drive The Post-Covid Economy And Society At The Grassroots Level Through The Bcg Economy By Srinakharinwirot University (โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ Bcg มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) (Swu-U2T For Bcg)

Target Indicator Result
ขจัดความยากจน
SDG 1 NO POVERTY
1.3 Implement nationally appropriate social protection systems and measures for all, including floors, and by 2030 achieve substantial coverage of the poor and the vulnerable 1.3.1 Proportion of population covered by social protection floors/systems, by sex, distinguishing children, unemployed persons, older persons, persons with disabilities, pregnant women, newborns, work-injury victims and the poor and the vulnerable เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 107 ตำบล ครอบคลุม 30 อำเภอ 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครนายก จังหวัดนนทบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดอ่างทอง และจังหวัดอุทัยธานี โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มอัตราการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 994 อัตรา โดยจำแนกเป็น บัณฑิต จำนวน 497 อัตรา และประชาชนในพื้นที่ จำนวน 497 อัตรา
1.4 By 2030, ensure that all men and women, in particular the poor and the vulnerable, have equal rights to economic resources, as well as access to basic services, ownership and control over land and other forms of property, inheritance, natural resources, appropriate new technology and financial services, including microfinance 1.4.1 Proportion of population living in households with access to basic services - เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 107 ตำบล ครอบคลุม 30 อำเภอ 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครนายก จังหวัดนนทบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดอ่างทอง และจังหวัดอุทัยธานี โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มอัตราการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 994 อัตรา โดยจำแนกเป็น บัณฑิต จำนวน 497 อัตรา และประชาชนในพื้นที่ จำนวน 497 อัตรา คิดเป็นมูลค่าการจ้างงาน 35,784,000 บาท
- ประชาชนที่พื้นที่ได้รับความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามหลักสูตรของโครงการแต่ละตำบล จำนวน 30 คน รวม 107 ตำบล รวมจำนวนทั้งสิ้น 3,210 คน
- กลุ่มผู้ถูกจ้างงานทุกคน (994 คน)ได้รับการพัฒนาทักษะในการดำเนินโครงการ ตามหลักสูตรที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กำหนด จำนวน 8 รายวิชา คือ 1) การออกแบบสินค้าและบรรจุภัณฑ์ 2) การวางแผนการตลาดและการสร้างแบรนด์ 3) การออกแบบเรื่องราวสินค้าให้น่าสนใจ 4) การเป็นผุู้ประกอบการและการเติบโต 5) อีคอมเมิร์ช 101/กลยุทธ์ราคา 6) การขนส่งและซัพพลายเชน 7) การตลาดออนไลน์/ไลฟ์สดขายสินค้า และ 8) แนวโน้มธุรกิจ และเครื่องมือจัดการสมัยใหม่
1.a Ensure significant mobilization of resources from a variety of sources, including through enhanced development cooperation, in order to provide adequate and predictable means for developing countries, in particular least developed countries, to implement programmes and policies to end poverty in all its dimensions 1.a.3 Sum of total grants and non-debt-creating inflows directly allocated to poverty reduction programmes as a proportion of GDP 1. งบประมาณสนับสนุนการจัดโครงการจำแนกดังนี้
- ตำบลเดิม (ปี พ.ศ. 2564) จำนวน 38 ตำบล ตำบลละ 107,500 บาท รวมเป็นเงิน 4,085,000 บาท
- ตำบลใหม่ (ปี พ.ศ. 2565) จำนวน 69 ตำบล ตำบลละ 145,000 บาท รวมเป็นเงิน 10,005,000 บาท

2. งบประมาณการจ้างงานจำแนก ดังนี้
- บัณฑิต จำนวน 497 คน เดือนละ 15,000 บาท จำนวน 3 เดือน เป็นเงิน 22,365,000 บาท
- ประชาชนในพื้นที่ จำนวน 497 คน เดือนละ 9,000 บาท จำนวน 3 เดือน เป็นเงิน 13,419,000 บาท

รวมงบประมาณทั้งสิ้น 49,874,000 บาท
ขจัดความหิวโหย
SDG 2 ZERO HUNGER
2.3 By 2030, double the agricultural productivity and incomes of small-scale food producers, in particular women, indigenous peoples, family farmers, pastoralists and fishers, including through secure and equal access to land, other productive resources and inputs, knowledge, financial services, markets and opportunities for value addition and non-farm employment 2.3.2 Average income of small-scale food producers, by sex and indigenous status - รายได้เฉลี่ยสำหรับผู้ถูกจ้างงานที่เป็นเพศหญิงอยู่ระหว่าง 9,000 – 15,000 บาท ต่อเดือน
- รายได้เฉลี่ยจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการที่เป็นเพศหญิง เฉลี่ย 50,065.98 บาทต่อพื้นที่
มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
SDG 3 GOOD HEALTH AND WELL-BEING
3.3 By 2030, end the epidemics of AIDS, tuberculosis, malaria and neglected tropical diseases and combat hepatitis, water-borne diseases and other communicable diseases 3.3.5 Number of people requiring interventions against neglected tropical diseases เกิดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้และเฝ้าระวังจากสถานการณ์การระบาดจากไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในตำบลผ่านการดำเนินโครงการแต่ละตำบล จำนวน 107 ตำบล จำนวนคนที่ได้รับบริการทั้งสิ้น 601,374 คน
การศึกษาที่เท่าเทียม
SDG 4 QUALITY EDUCATION
4.6 By 2030, ensure that all youth and a substantial proportion of adults, both men and women, achieve literacy and numeracy 4.6.1 Proportion of population in a given age group achieving at least a fixed level of proficiency in functional (a) literacy and (b) numeracy skills, by sex กลุ่มผู้ถูกจ้างงานทุกคน (994 คน)ได้รับการพัฒนาทักษะในการดำเนินโครงการ ตามหลักสูตรที่กระทรวง อว กำหนด จำนวน 8 รายวิชา คือ 1) การออกแบบสินค้าและบรรจุภัณฑ์ 2) การวางแผนการตลาดและการสร้างแบรนด์ 3) การออกแบบเรื่องราวสินค้าให้น่าสนใจ 4) การเป็นผุู้ประกอบการและการเติบโต 5) อีคอมเมิร์ช 101/กลยุทธ์ราคา 6) การขนส่งและซัพพลายเชน 7) การตลาดออนไลน์/ไลฟ์สดขายสินค้า และ 8) แนวโน้มธุรกิจ และเครื่องมือจัดการสมัยใหม่
การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
SDG 8 DECENT WORK AND ECONOMIC GROWTH
8.5 By 2030, achieve full and productive employment and decent work for all women and men, including for young people and persons with disabilities, and equal pay for work of equal value 8.5.1 Average hourly earnings of female and male employees, by occupation, age and persons with disabilities รายได้ต่อชั่วโมงสำหรับผู้ถูกจ้างงานอยู่ระหว่าง 37.50 – 62.50 บาท
8.6 By 2020, substantially reduce the proportion of youth not in employment, education or training 8.6.1 Proportion of youth (aged 15 24 years) not in education, employment or training เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 107 ตำบล ครอบคลุม 30 อำเภอ 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครนายก จังหวัดนนทบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดอ่างทอง และจังหวัดอุทัยธานี โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มอัตราการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 994 อัตรา โดยจำแนกเป็น บัณฑิต จำนวน 497 อัตรา และประชาชนในพื้นที่ จำนวน 497 อัตรา คิดเป็นมูลค่าการจ้างงาน 35,784,000 บาท
8.9 By 2030, devise and implement policies to promote sustainable tourism that creates jobs and promotes local culture and products 8.9.2 Proportion of jobs in sustainable tourism industries out of total tourism jobs เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ และผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาภายในตำบลทั้ง 107 ตำบล ตำบลละ 2 ผลิตภัณฑ์ รวมจำนวนผลิตภัณฑ์ทั้งสิ้น 214 ผลิตภัณฑ์
ลดความเหลื่อมล้ำ
SDG 10 REDUCED INEQUALITIES
10.1 By 2030, progressively achieve and sustain income growth of the bottom 40 per cent of the population at a rate higher than the national average 10.1.1 Growth rates of household expenditure or income per capita among the bottom 40 per cent of the population and the total population เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 107 ตำบล ครอบคลุม 30 อำเภอ 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครนายก จังหวัดนนทบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดอ่างทอง และจังหวัดอุทัยธานี โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มอัตราการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 994 อัตรา โดยจำแนกเป็น บัณฑิต จำนวน 497 อัตรา และประชาชนในพื้นที่ จำนวน 497 อัตรา คิดเป็นมูลค่าการจ้างงาน 35,784,000 บาท
แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
SDG 12 RESPONSIBLE CONSUMPTION & PRODUCTION
12.5 By 2030, substantially reduce waste generation through prevention, reduction, recycling and reuse 12.5.1 National recycling rate, tons of material recycled 1. ลดขยะจากผักตบชวา จากการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ จำนวน 200 กิโลกรัม
2. ลดค่าใช้จ่ายในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน คิดเป็นมูลค่า 36,903.58 บาท
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
SDG 17 PARTNERSHIPS FOR THE GOALS
17.1 Strengthen domestic resource mobilization, including through international support to developing countries, to improve domestic capacity for tax and other revenue collection 17.1.1 Total government revenue as a proportion of GDP, by source เกิดการจ้างงานภายในตำบลทั้ง 107 ตำบล ครอบคลุม 30 อำเภอ 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครนายก จังหวัดนนทบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดอ่างทอง และจังหวัดอุทัยธานี โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มอัตราการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 994 อัตรา โดยจำแนกเป็น บัณฑิต จำนวน 497 อัตรา และประชาชนในพื้นที่ จำนวน 497 อัตรา คิดเป็นมูลค่าการจ้างงาน 35,784,000 บาท
Caveat

รัฐบาลมีแผนงานในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ที่มุ่งเน้นการรักษาระดับการจ้างงานของผู้ประกอบการและการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ โดยในปี พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได่ดำเนินโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) ในพื้นที่ตำบล จำนวน 40 ตำบล ในจังหวัดนครนายกและจังหวัดสระแก้ว และในปี พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดำเนินโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (SWU-U2T for BCG)ได้รับการจัดสรรพื้นที่เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ตามแนวทางนโยบายของรัฐบาล และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ในพื้นที่การบริการวิชาการ จำนวน 107 ตำบล ครอบคลุม 30 อำเภอ 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครนายก จังหวัดนนทบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดอ่างทอง และจังหวัดอุทัยธานี โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มอัตราการจ้างงานในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 994 อัตรา โดยจำแนกเป็น บัณฑิต จำนวน 497 อัตรา และประชาชนในพื้นที่ จำนวน 497 อัตรา การเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการด้วย BCG Model ในพื้นที่ด้วยองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม โดยมีรายละเอียดกิจกรรม ดังนี้

1. การจ้างงานบัณฑิตและประชาชนในพื้นที่
2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พัฒนาคุณภาพและการออกแบบผลิตภัณฑ์
3. การพัฒนาแผนธุรกิจของผลิตภัณฑ์ และการวิเคราะห์ตลาด
4. การส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการตลาดออนไลน์ และนำสินค้าเข้าระบบออนไลน์

Impact Level
Impact

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้ดำเนินการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการดำเนินโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (SWU-U2T for BCG) ด้วยรูปแบบการประเมินผลตอบแทนทางสังคม (Social Return on Investment: SROI) จากกลุ่มตัวอย่างชุมชน จำนวน 10 ตำบล จาก 10 จังหวัดเป้าหมายของโครงการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบทางสังคมที่เกิดขึ้น ผลการประเมินในภาพรวมของโครงการฯ พบว่า SROI = 1 : 2.51 ซึ่งหมายความว่า ทุกการลงทุนในการดำเนินโครงการ 1 บาท จะได้ผลตอบแทนทางสังคมมูลค่าเท่ากับ 2.51 บาท ซึ่งถือว่าโครงการฯ ส่งผลกระทบทางสังคมอย่างมีนัยสำคัญ โดยมีรายละเอียดผลกระทบ (Key impact results) แต่ละด้านดังนี้
1. ด้านเศรษฐกิจ
1.1 บัณฑิต/ประชาชนในพื้นที่ได้รับค่าจ้างในการดำเนินงาน จำนวน 10 จังหวัด จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 79 ราย มีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 31,746.84 บาทต่อราย รายได้รวม 2,508,000 บาท
1.2 เกิดการพัฒนา/ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนมากกว่า 20 ผลิตภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพิ่มมากกว่า 500,659.80 บาท (เฉลี่ย 50,065.98 บาทต่อพื้นที่)
1.3 เกิดการพัฒนาโครงสร้างการทำงานร่วมกันในชุมชน ปรับปรุงกระบวนการ พฤติกรรม ระบบการทำงาน ส่งผลให้เกิดต้นแบบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องมากกว่า 10 ชุมชน
1.4 เกิดฐานข้อมูล BCG ของชุมชนกว่า 5,208 ชุด โดยลดค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูลคิดเป็นมูลค่ารวม 416,640 บาท

2. ด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
2.1 บัณฑิต/ประชาชนในพื้นที่/กลุ่มวิสาหกิจมีทักษะที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ด้านการประสานงาน/การทำงานในชุมชนเครือ่าย/การเมือง/ประชาธิปไตย, ด้านการประกอบธุรกิจ, ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการ, ด้านการตลาด และด้านนวัตกรรมเพื่อผลิตหรือบริโภค
2.2 บัณฑิต/ประชาชนในพื้นที่ได้รับการยอมรับในชุมชน ส่งผลให้เกิดความภาคภูมิใจในการเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนงานชุมชน
2.3 เกิดผลงานต้นแบบในการพัฒนาผลงาน/วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพ ส่งผลให้เกิดการประชาสัมพันธ์/สื่อสารสร้างการรับรู้ของโครงการ ส่งเสริมให้หน่วยงานได้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
2.4 เกิดกลุ่มแกนนำชุมชน เพื่อประสานงาน/ช่วยเหลือให้กับชุมชน มากกว่า 79 ราย โดยดำเนินการช่วยเหลือชชุมชนต่อเนื่องเฉลี่ย 1 - 3 เดือนต่อครั้ง
2.5 เกิดการเชื่อมโยงภาคี/ความร่วมมือและโอกาสต่อยอดใดๆ ที่เกิดขึ้นแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกว่า 15 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหรือกลุ่มอาชีพใน 10 ชุมชน

3. ด้านสิ่งแวดล้อม
3.1 ลดขยะจากผักตบชวา จากการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ จำนวน 200 กิโลกรัม
3.2 ลดค่าใช้จ่ายในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน คิดเป็นมูลค่า 36,903.58 บาท

SWU-U2T for BCG Fair
SWU-U2T for BCG Fair
SWU-U2T for BCG Fair
SWU-U2T for BCG Fair
SWU-U2T for BCG Fair
SWU-U2T for BCG Fair
SWU-U2T for BCG Fair
SWU-U2T for BCG Fair
Social Service Office
Ms. Narumon Kamchun
20 Dec 24 14:30