bg

The Project For Integrating The Development Of A Prototype For Holistic Well-Being Management (Asoke Model) โครงการบูรณาการพัฒนาต้นแบบเพื่อการจัดการด้านสุขภาวะองค์รวม (อโศกโมเดล)

Target Indicator Result
มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
SDG 3 GOOD HEALTH AND WELL-BEING
Caveat

หลักการและเหตุผล
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาที่ตั้งอยู่ในเมืองบน ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) เห็นความสำคัญในปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความไม่ปลอดภัยในการใช้ทางเท้าท่าเรือโดยสารที่ไม่ปลอดภัยต่อผู้โดยสาร การขาดความตระหนักในเรื่องการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ความเสี่ยงด้านสุขภาวะของผู้ให้บริการตามท้องถนน เช่น พนักงานทำความสะอาด ตำรวจ วินจักรยานยนต์ ร้านค้าต่างๆ ข้างถนน และศูนย์ การค้าที่มีพนักงานจำนวนมากต้องบริโภค รวมถึงขาดพื้นที่ในการออกกำลังกาย ที่มีการดูแลและให้คำแนะนำ ในเรื่องของสุขภาวะที่แท้จริง มหาวิทยาลัยจึงมีแนวคิดในการจะพัฒนาพื้นที่ ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) ให้เป็น “อโศกโมเดล” โดยเริ่มให้มหาวิทยาลัยเป็น Social Lab เป็นพื้นที่สุขภาวะต้นแบบที่ ที่สามารถเข้ามาใช้บริการและเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาวะด้านต่างๆ ได้รวมถึงใช้ความรู้ทางวิชาการในการออกแบบพื้นที่สุขภาวะการดูแลสุขภาพการปรับปรุงทัศนียภาพ และความปลอดภัยต่างๆ เพื่อเป็นต้นแบบ ถนนที่ปลอดภัย น่ามอง คนอยู่ร่วมใช้มีสุขภาวะที่ดี ในด้านร่างกาย จิตใจ
สังคมและสิ่งแวดล้อม ต่อไป
2.วัตถุประสงค์
ระยะต้น
1.สร้างแนวทางการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะในบริบทการพัฒนาเมือง
2.สร้างพื้นที่สุขภาวะในบริบทการพัฒนาเมืองในเขตชุมชนเมือง (มศว)
3.ส่งเสริมให้เกิดสุขภาพที่ดีขึ้นในชุมชนเมือง
ระยะกลาง
1.สร้างถนนต้นแบบที่มีความปลอดภัย น่ามอง จากการบูรณาการจากทุกภาคส่วน
ระยะปลาย
1.เกิดเครือข่ายความร่วมมือ ในการพัฒนาพื้นที่ในเขตชุมชนเมือง
2.เกิดการพัฒนา ต่อยอดไปสู่พื้นที่อื่นๆ
3. กลุ่มเป้าหมาย
4. พื้นที่การดาเนินโครงการ
5. ความร่วมมือ/เครือข่าย

Impact Level
Impact

Social Service Office
Ms. Narumon Kamchun
20 Dec 24 14:36